|
วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
Flash Drive และ การป้องกันไวรัสที่มากับ Flash drive or Handy drive
วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556
การบำรุงรักษาและการใช้โน๊ตบุคให้มีประสิทธิภาพ
ปัจจุบันนี้หลายคนใช้โน๊ตบุคหรือเน็ตบุคในการทำงานการมากขึ้น วันนี้จึงขอนำความรู้เกี่ยวกับการรักษาโน๊ตบุคมาฝากกัน
1.อ่านคู่มือก่อนใช้งาน
ก่อนการใช้งานทุกครั้ง ผู้ใช้ควรทำความรู้จักโน๊ตบุคที่กำลังใช้งานให้มากที่สุด เพื่อการใช้งานอย่างถูกต้อง และไม่ก่อให้เกิดความเสียหายระยะยาว ปกติแล้วคู่มือจะแจ้งรายละเอียดของอุปกรณ์ทุกๆอย่าง ตำแหน่งของพอร์ต และอุปกรณ์ คำเตือนและคำแนะนำต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมถึงเบอร์โทรสำหรับติดต่อ สอบถามเมื่อโนตบุคเกิดปัญหา
2.การชาร์จแบตเตอร์รี่
ผู้ใช้ควรอ่านคำแนะนำในการชาร์จแบตเตอรรี่ในคู่มือ มีมาให้ทุกครั้ง ดดยเฉพาะการชาร์จไฟครั้งแรก ซึ่งจะต้องชาร์จนานกว่าปกติ หลังจากนั้นก็ชาร์จไฟใหม่ได้ถึงแม้ว่าใช้งานตอนที่แบตไม่หมด มีผู้ใช้หลายท่านมีให้ข้อคิดเห็นว่า เวลาเสียบปลั๊กใช้งาน ซึ่งแบตเตอรรี่เต็มแล้ว ไม่ควรใส่แบตเตอรรี่ไว้ในเครื่อง เพราะจะทำให้เกิดความร้อน และแบตเคตอร์รี่เสื่อมเร็ว จริง ๆ แล้วก็อาจเป็นไปได้ แต่ถ้าเรามองอีกมุมหนึ่ง การชาตแบตเตอร์รีระหว่างการใช้งานก็เป็น การป้องกันเรื่องของไฟดับกระทันหันได้เช่นกัน เพราะถ้าเกิดไฟดับกระทันหัน จะส่งผลต่อฮาร์ดดิสภายในเครื่อง ซึ่งอาจเสียหายได้ทันที โดยปกติแล้วแบตเตอรี่ก็มีอายุการใช้งานดดยเฉลี่ยที่ 2 ถึง 3 ปี ตามแต่ลักษณะการใช้งานของแต่ละคน ซึ่งก็คงต้องใช้งานให้ถูกวิธี จะช่วยยืดเวลาการใช้่งานให้ยาวนานขึ้นไปอีก
3. อย่าใช้งานนานเกินไป
เนื่องจากโน๊ตบุคมีพื้นที่ในการระบายความร้อนค่อนข้างจำกัด แม้ในปัจจุบันโน็ตบุคจะติดระบบทำความร้อนระบายที่มีประสิทธิภาพแล้วก็ตามแต่ก็มีความร้อนบางส่วนสะสมอยู่ภายในเครื่อง ซึ่งความร้อนเหล่านี้อาจส่งผล ให้การทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในเครื่องมีอายุการใช้งานลดลงได้ หากใช้ไปประมาณ 5 - 6 ชั่วโมงหรือตัวเครื่องมีความร้อนสูงพอแล้ว เราควนปิดเครื่องหรืพักเครื่องสักระยะก่อนแล้วจึงเปิดใช้งานใหม่อีกครั้ง
4. การทำความสะอาดโน๊ตบุ๊ก
ควรใช้ผ้าแห้งเช็ดทำความสะอาดโดยรอบตัวเครื่อง ยกเว้นจอภาพที่ควรใช้ผ้าหรือวัสดุที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ จัดการทำความสะอาด ส่วนคีย์บอร์ดที่มักจะมีฝุ่น หรือเศษผงติดเข้าไปด้านใน ไม่ควนใช้วิธีเป่าแต่ควรใช้วิธีการดูดด้วยเครื่องดูดฝุ่นเพื่อช่วยทำความสะอาดได้เช่นกัน
5.หลีกเลี่ยงการโดยกระแทก
เวลาพกพาโน๊ตบุคไปตามสถานที่ต่างๆ ควรจะมีการระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะหากเกิดไปกระแทกกับวัสดุอื่นแล้วจะเกิดการเสียหายค่อนข้างมาก ดดยเฉพาะจอภาพที่บอบบางเป็นพิเศษ ทุกครั้งก่อนนำไปใช้ ควรนำใส่กระเป๋าที่ออกแบบมาเพื่อใส่โน๊ตบุคโดยเฉพาะ เพราะด้านในจะมีการระบุด้วยวัสดุกันกระแทก เวลาไปกระแทก โดยไม่ตั้งใจ วัสดุเหล่านั้นจะผ่อนหนักให้เป็นเบาได้
6. การใช้งานโน๊ตบุ๊คให้ถูกสถานที่
โน๊ตบุคควนใช้ในที่สถานที่อากาศถ่ายเทของอากาศที่ไหลเวียนสะดวก การวางโน๊ตบุคไม่ควรวางในที่นุ่ม เพราะจะทำให้ปิดช่องระบายความร้อนใต้เครื่องได้ มีผู้ใช้บางกลุ่มนิยมนำโน๊ตบุคไปไว้บนที่นอน ซึ่งไม่ควรทำ เพราะที่นอนมีความนุ่มเวลาโนตบุคลงไป พื้นด้านล่างจะแนบชิดกับที่นอนทั้งหมด ไม่มีช่องระบายความร้อน ซึ่งอาจขมีผลให้ความร้อนสูงจนแฮงค์และไม่สามารถใช้งานได้อีกต่อไป ควรหลีกเลี่ยงในบริเวณที่มีฝนตก หรือความชื้นสูง เพราะอาจส่งผล่ออุปกรณ์ ต่างๆได้
7. การสำรองข้อมูล
เนื่องจากโน๊คบุคออกแบบมาพกพา ดังนั้นโอกาสที่เกิดการกระทบ หรือเหตุการณ์ไม่ขาดฝันค่อนข้างสูง ดังนั้นควรจะมีการสำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะข้อมูลที่มีความสำคัญ ซึ่งปัจจุบันโนตบุคจะติดตั้งคอมโบไดฟ์มาให้อยู่แล้ว ดังนั้นการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีน่าจะเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด ในการสำรองข้อมูลก็สามารถใช้คำสั้ง Backup โดยมีวิธีการดังนี้
Window xp >> Start >>Program >> Accessories >> System >> Backup แล้วทำตามขั้นตอนต่างๆ
Window 7 >> Start > control Panel >> Backup And Restore>>เลืกไฟลืที่สำรองข้อมูลโดยคลิก Create system image >> เลือกไดฟ์ที่ต้องการ (ยังสามารถเลือกบันทึกไดฟ์อื่นบน NETWORK ได้ด้วย)>>กด Next>>เลือก Start backup>>รอการสำรองข้อมูลจนเสร็จ นอกจากนี้เรายังสามารถตั้งต่า Backup แบบอัติโนทัติได้ที่ Schedule ได้อีกด้วย ^^
วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2556
HUB
การที่อุปกรณ์อินเตอร์เน็ตทำหน้าที่ได้ความเร็ว / ระดับ เช่น 10/100 นั้น ก็เนื่องจากอุปกรณ์เครื่องนั้นมีฟังก์ชั่นที่เช็คได้ว่าอุปกรณ์ หรือคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับ HUB นั้นสามารถรับส่งข้อมมูลได้ที่ความเร็วเท่าใด และอุปกรณ์นั้นก็จะเลือกอัตราข้อมูลสูงสุดที่รองรับทั้งสองฝั่ง เรียกว่า การเจรจาอัตโนมัติ ส่วนใหญ่ HUB หรือ SWITCH ที่ผลิตจะมีฟังชั่นนี้อยู่ เพื่อสามารถเชื่อมต่อเครือข่าย INTERNET ที่ความเร็วต่างกันได้ได้ ถ้ามีอุปกรณ์เครือข่าย หรือคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเชื่อมต่อเข้ากับ HUB และแต่ละโหนดสามารถส่งข้อมูลได้ในอัตราที่ต่างกัน HUB ก็จะเลือกอัตราส่งข้อมูลที่อัตราความเร็วต่ำสุด เนื่องจากคอมพิวเตอร์เหล่านี้จัดอยู่ในคอเลคชั่นโดเมนเดียวกัน เช่น ถ้า LAn การ์ดของคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ 10 Mbps ส่วน LAn การ์ดของคอมพิวเตอร์ที่เหลือสามารถรับส่งข้อมูลได้ 10/100 Mbps แล้ว คอมพิวเตอร์เหล่านี้เชื่อมตอกับ HUB เดียวกันที่รองรับอัตราความเร็ว 10/100 Mbps เครือข่ายนี้ก็จะทำงานที่ความเร็ว 10 Mbps เท่านั้น แต่ถ้าเป็น SWitch อัตราความเร็วจะขึ้นอยู่กับความเร็วคอมพิวเตอร์เนื่องจาก SWich จะแยกคอลลิชันโดเมน
วันจันทร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2556
Local Area Network (LAN)
Local Area Network (LAN)
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อบริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้โดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น การเชื่อมโยงเครือข่าย แบบ LAN มี 4 รูปแบบดังนี้
-Ethernet LAN
มีการรับส่งข้อมูลความเร็ว 10 - 1000 Mbps ใช้พื้นฐาน Topology แบบนัส โดยอุปกรณ์ทุกอย่างจะเชื่อมต่อกันบนสัญญาณเส้นเดียว โดยต้องมีการจัดการเรื่องการสื่อสารไม่ให้รับส่งพร้อมกันเกินกว่าหนึ่งคู่ โดยให้อุปกรณ์ที่ส่งข้อมูลตรวจสอบว่ามีข้อมมูลใดวิ่งอยู่บนสายหรือไม่ หากไม่มีจึงส่งได้ และถ้ามีการชนกันของข้อมูลบนสายก้จะส่งใหม่
-Token Ring
มีความเร็ว 16 Mbps เชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนโดยแพกเกตข้อมูลจะวิ่งวนในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ถ้าทราบแอดเดสปลายยทางแล้ว Token จะถูกระบุปลายทางอยู่ไหน และจะถูกส่งไปเรื่อยๆจนเจอปลายทางและจะถูกปล่อยเพื่อให้ผู้อื่นใช้ต่อไป อุปกรณ์กรณ์นั้นจะรับข้อมูลไปและจะเป็นไปอย่างมีระเบียบ
-ARCNET
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ Token - Bus ในการจัดการ line sharing ระหว่างเครื่องลูกข่ายและอุปกรณ์อื่นๆ เครื่องแม่ข่ายจะส่งเฟรมข้อความเปล่าไปตาม Bus เมื่ออุปกรณ์ต้องการส่งข้อมูลก็จะใส่ Toker เป็น 0 ลงไปแทน เฟรมนั้นก็จะำร้อมนำกลับมาใช้ได้ใหม่
-FDDI(Fiber Distributed Data Interface)
ทำงานบนสาย Fibber Optic ทำงานในระยะไกลถึง 200 กิโลเมตร ใช้โปโตคอล ของ Token Ring โดยจะซ้อนกัน 2 วง เป็น Bank up กันและกันให้บริการได้ถึง 100 Mbps
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย LAN
1. LAN CARD คือ การ์ดที่จะติดตั้งภายใน PC ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก และแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยูู่กับความเร็วที่ต้องการ
2. LAN Cable คือสายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมกันมากคือ UTB และ STB ซึ่งการเลือกสายขึ้นอยู่กับการนำไปใช้
3.Hub คือ อุปกรณ์ที่ใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือ ข้อมูล โดยปกกติเลือก HUB จะดูที่จำนวน Post ที่ต้องการ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อบริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้โดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น การเชื่อมโยงเครือข่าย แบบ LAN มี 4 รูปแบบดังนี้
-Ethernet LAN
มีการรับส่งข้อมูลความเร็ว 10 - 1000 Mbps ใช้พื้นฐาน Topology แบบนัส โดยอุปกรณ์ทุกอย่างจะเชื่อมต่อกันบนสัญญาณเส้นเดียว โดยต้องมีการจัดการเรื่องการสื่อสารไม่ให้รับส่งพร้อมกันเกินกว่าหนึ่งคู่ โดยให้อุปกรณ์ที่ส่งข้อมูลตรวจสอบว่ามีข้อมมูลใดวิ่งอยู่บนสายหรือไม่ หากไม่มีจึงส่งได้ และถ้ามีการชนกันของข้อมูลบนสายก้จะส่งใหม่
-Token Ring
มีความเร็ว 16 Mbps เชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนโดยแพกเกตข้อมูลจะวิ่งวนในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ถ้าทราบแอดเดสปลายยทางแล้ว Token จะถูกระบุปลายทางอยู่ไหน และจะถูกส่งไปเรื่อยๆจนเจอปลายทางและจะถูกปล่อยเพื่อให้ผู้อื่นใช้ต่อไป อุปกรณ์กรณ์นั้นจะรับข้อมูลไปและจะเป็นไปอย่างมีระเบียบ
-ARCNET
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ Token - Bus ในการจัดการ line sharing ระหว่างเครื่องลูกข่ายและอุปกรณ์อื่นๆ เครื่องแม่ข่ายจะส่งเฟรมข้อความเปล่าไปตาม Bus เมื่ออุปกรณ์ต้องการส่งข้อมูลก็จะใส่ Toker เป็น 0 ลงไปแทน เฟรมนั้นก็จะำร้อมนำกลับมาใช้ได้ใหม่
-FDDI(Fiber Distributed Data Interface)
ทำงานบนสาย Fibber Optic ทำงานในระยะไกลถึง 200 กิโลเมตร ใช้โปโตคอล ของ Token Ring โดยจะซ้อนกัน 2 วง เป็น Bank up กันและกันให้บริการได้ถึง 100 Mbps
อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย LAN
1. LAN CARD คือ การ์ดที่จะติดตั้งภายใน PC ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก และแบ่งออกได้หลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยูู่กับความเร็วที่ต้องการ
2. LAN Cable คือสายสัญญาณที่มีลักษณะคล้ายสายโทรศัพท์ ที่นิยมกันมากคือ UTB และ STB ซึ่งการเลือกสายขึ้นอยู่กับการนำไปใช้
3.Hub คือ อุปกรณ์ที่ใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณ หรือ ข้อมูล โดยปกกติเลือก HUB จะดูที่จำนวน Post ที่ต้องการ
วันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2556
CPU และ Mouse
CPUคืออะไร CPU หรือ Central Processing Unit คือหัวใจหลักในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จึงขาดซีพียุไม่ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์
การดูแลรักษาซีพียู(CPU: Central Processing Unit)
โดยปกติซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่เสียหายยากมากจากการใช้งานปกติ ซึ่งซีพียูอาจจะทำงานได้นานมาจนเราเลิกใช้เครื่องไปเลย แต่ถ้าเราโชคร้ายถูกผู้ผลิตนำซีพียู ที่มีความเร็วต่ำมาหลอกขายว่าเป็นซีพียูความเร็วสูง(CPU Remark)หรือที่ทำการ PUSH ให้ซีพียูทำงานเร็วกว่าที่ซีพียูกำหนดให้ ทำให้การทำงานของซีพียูสั้นลงกว่าปกติ อีกสาเหตูหนึ่งที่ทำให้อายุการใช้งานซีพียูสั้นลงก็คือ พัดลมระบายอากาศ (Ventilation Fan)ที่ติดตั้งอยู่ในชุดจ่ายไฟฟ้า(Power Supply)ของคอมพิวเตอร์เสีย ทำให้ซีพียูต้องทำงานในความร้อนสูงตลอดเวลาถ้าซีพียูเสียต้องซื้อใหม่อย่างเดียว ไม่สามารถทำกาซ่อมหรือแก้ไขได้
เมาส์คืออะไร
Mouse เป็น อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทำงาน โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่างๆ บนจอภาพ เหมาะสำหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอMouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้ 2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal System Version2)
การดูแลรักษาเมาส์ (Mouse)
เป็นอุปกรณ์ Input ที่ใช้สำหรับป้อนข้อมูลคำสั่งเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเมาส์ จะประกอบด้วยลูกกลิ้งและฟันเฟือง ซึ่งสามารถถอดออกมาเพื่อทำความสะอาด เนื่องจากลูกกลิ้งจะสะสมสิ่งสกปรกต่างๆไว้ภายในเมาส์ ทำให้ลูกกลิ้งไม่สามารถเคลื่อนที่ไปโดยอิสระ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)